๕๑๒    ๖๘.พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เล่ม ๗ ภาค ๑ ๖๘.พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เล่ม ๗ ภาค ๑    ๕๑๓
ขานิมิตฺตํ  มนสิกโรติภิกษุใส่ใจถึงอุเบกขานิมิตตลอดกาล.
             สังขารุเบกขา  คือ   อุเบกขาอันเป็นกลางในความไม่ยึดถือการ
ดำรงอยู่ในความพิจารณานิวรณ์เป็นต้นอันมาแล้วอย่างนี้ว่า  กติ  สงฺขา-
รุเปกฺขา  สมถวเสน   อุปฺปชฺชนฺติ,  กติ  สงฺขารุเปกฺขา   วิปสฺ-
สนาวเสน  อุปฺปชฺชนฺติ,   อฏฺ€   สงฺขารุเปกฺขา  สมถวเสน  อุปฺ-
ปชฺชนฺติ,  ทส  สงฺขารุเปกฺขา   วิปสฺสนาวเสน   อุปฺปชฺชนฺติ-
สังขารุเบกขา   ย่อมเกิดขึ้นด้วยอำนาจสมณะเท่าไรล  สังขารุเบกขา  ย่อม
เกิดขึ้นด้วยอำนาจวิปัสสนาเท่าไร,   สังขารุเบกขา ๘    ย่อมเกิดขึ้นด้วย
อำนาจสมถะ.   สังขารุเบกขา  ๑๐  ย่อมเกิดขึ้นด้วยอำนาจวิปัสสนา.
             เวทนุเบกขา   คือ  อุเบกขาที่ไม่รู้ทุกข์ไม่รู้สุขอันมาแล้วอย่างนี้
ว่า  ยสฺมึ   สมเย  กามาวจรํ   กุสลํ  จิตฺตํ   อุปฺปนฺนํ   โหติ  อุเปกฺขา-
สหคตํ สมัยใด    จิตเป็นกามาวจรกุศลสหรคตด้วยอุเบกขาเกิดขึ้น.
             วิปัสสนุเบกขา   คือ   อุเบกขาที่เป็นกลางในการค้นคว้าอันมา
แล้วอย่างนี้ว่า  ยทตฺถิ ยํ ภูตํ,  ตํ ปชหติ,  อุเปกฺขํ  ปฏิลภติ- ภิกษุ
ย่อมละสิ่งที่มีที่เป็นย่อมได้อุเบกขา.
             ตัตรมัชณัตตุเบกขา   คือ   อุเบกขาที่นำสหชาตธรรมไปเสมอ
อันมาในเยวาปนกธรรมมีฉันทะเป็นต้น.
๑. องฺ. ติก. ๒๐/๕๔๒. ๒. ขุ. ป. ๓๑/๑๓๓. ๓. อภิ. สํ. ๓๔/๑๓๕
๔. ม. อุ. ๑๔/๙๐.
                ฌานุเบกขา    คือ   อุเบกขาอันยังธรรมที่ไม่ตกไปในฝักฝ่ายให้
เกิดในฌานนั้น    แม้เป็นสุขอย่างเลิศอันมาแล้วอย่างนี้ว่า    อุเปกฺขโก
จ  วิหรติ - ภิกษุผู้มีอุเบกขาอยู่.
                   ปาริสุทธุเบกขา คือ  อุเบกขาอันไม่ขวนขวายแม้ในความสงบ
จากธรรมเป็นข้าศึก  บริสุทธิ์จากธรรมเป็นข้าศึกทั้งหมดอันมาแล้วอย่าง
นี้ว่า  อุเปกฺขาสติปาริสุทฺธึ  จตุตฺถํ  ฌานํ- ภิกษุเข้าจตุตถฌานมี
อุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์.
          ในอุเบกขาเหล่านั้น    ฉฬังคุเบกขา  พรหมวิหารุเบกขา โพช-
ฌังคุเบกขา     ตัตรมัชฌัตตุเบกขา    ฌานุเบกขา    และปาริสุทธุเบกขา
โดยอรรถเป็นอย่างเดียวกัน,     คือเป็น  ตัตรมัชฌัตตุเบกขา.      แต่
อุเบกขานั้นต่างกันโดยความต่างแห่งความไม่คงที่      ดุจความต่างของคน
แม้คนหนึ่งโดยเป็นกุมาร   เป็นหนุ่ม   เป็นเถระ   เป็นเสนาบดี   เป็น
พระราชาเป็นต้น,  เพราะฉะนั้น  พึงทราบว่าในอุเบกขาเหล่านั้น  ฉฬัง-
คุเบกขามีอยู่ในฌานใด,  ในฌานนั้นไม่มีฉฬังคุเบกขาเป็นต้น,  หรือ
ว่าในฌานใดมีโพชฌังคุเบกขา,  ในฌาณนั้นไม่มีฉฬังคุเบกขาเป็นต้น.
            ความเป็นอย่างเดียวกัน    โดยอรรถของอุเบกขาเหล่านั้นฉันใด,
แม้ของสังขารุเบกขาและวิปัสสนุเบกขาก็ฉันนั้น.  จริงอยู่อุเบกขานั้น
๑. ที.สี. ๙/๑๒๘. ๒. อภิ. สํ. ๓๔/๑๔๖.