๒. ตสฺมึ เสวนจิตฺตํ - จิตคิดจะเสพในวัตถุที่ไม่ควรถึงนั้น |
๓. เสวนปฺปโยโค - พยายามที่จะเสพ |
๔. มคฺเคน มคฺคปฏิปตฺติอธิวาสนํ - มรรคจดมรรค. |
บทว่า มุสา ได้แก่ วจีปโยคะ หรือกายปโยคะ อันหัก |
ประโยชน์ของผู้ที่มุ่งจะพูดให้ผิด. เจตนาตั้งขึ้นด้วยกายปโยคะ และวจี- |
ปโยคะของผู้พูดให้ผู้อื่นเข้าใจผิด โดยประสงค์ให้เขาเข้าใจผิด ชื่อว่า |
มุสาวาท. อีกนัยหนึ่ง บทว่า มุสา ได้แก่ เรื่องไม่จริง ไม่แท้. |
บทว่า วาโท ได้แก่ พูดให้เขารู้โดยความจริง โดยความแท้. แต่ |
โดยลักษณะ เจตนาตั้งขึ้นด้วยความบอกเล่าอย่างนั้น ของผู้ประสงค์จะ |
ให้ผู้อื่นรู้เรื่องไม่จริงโดยความเป็นจริง ชื่อว่า มุสาวาท. มุสาวาทนั้น |
มีประโยชน์น้อย เพราะประโยชน์ที่หักน้อย, มีโทษมากเพราะประ |
โยชน์มาก. อีกอย่างหนึ่ง มีโทษน้อยเป็นไปโดยนัยมีอาทิว่า ของ |
ของตนไม่มี เพราะประสงค์จะไม่ให้แก่คฤหัสถ์, มีโทษมาก เป็น |
พยายามพูดเพื่อหักล้างประโยชน์. มีโทษน้อยเป็นไปโดยนัยที่บรรพชิต |
ได้น้ำมันหรือเนยใสน้อย แล้วพูดแดกดันด้วยประสงค์จะหัวเราะเล่นว่า |
วันนี้ในบ้านคงจะมีน้ำมันไหลมาดุจแม่น้ำซินะ, มีโทษมากแก่ผู้พูดโดย |
นัยมีอาทิว่า ไม่เห็นแล้ว ยังพูดว่าเห็นดังนี้. |
มุสาวาท มีองค์ ๔ คือ |
๑. อตถํ วตฺถุํ - เรื่องไม่จริง |