ไม่หวั่นไหวเพราะความเกียจคร้าน ชื่อว่าสติพละ. เพราะอรรถว่า |
ไม่หวั่นไหวเพราะความประมาท ชื่อว่าสมาธิพละ เพราะอรรถว่า |
ไม่หวั่นไหวเพราะความฟุ้งซ่าน ชื่อว่าปัญญาพละ เพราะอรรถว่า |
ไม่หวั่นไหวเพราะอวิชชา ชื่อว่าสัทธินทรีย์ เพราะอรรถว่าน้อมใจเชื่อ |
ชื่อว่าวีริยินทรีย์ เพราะอรรถว่าประคองไว้ ชื่อว่าสตินทรีย์ เพราะ |
อรรถว่าตั้งมั่น ชื่อว่าสมาธินทรีย์ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ่าน ชื่อว่า |
ปัญญินทรีย์ เพราะอรรถว่าเห็น ชื่อว่าอินทรีย์ เพราะอรรถว่าเป็นใหญ่ |
ชื่อว่าพละ เพราะอรรถว่าไม่หวั่นไหว ชื่อว่าสัมโพชฌงค์ เพราะ |
อรรถว่านำออก ชื่อว่ามรรค เพราะอรรถว่าเป็นเหตุ ชื่อว่าสติปัฏฐาน |
เพราะอรรถว่าตั้งมั่น ชื่อว่าสัมมัปธาน เพราะอรรถว่าตั้งไว้ ชื่อว่า |
อิทธิบาท เพราะอรรถว่าสำเร็จ ชื่อว่าสัจจะ เพราะอรรถว่าจริงแต่ |
ชื่อว่าสมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ่าน ชื่อว่าวิปัสสนา เพราะอรรถว่า |
พิจารณาเห็น ชื่อว่าสมถวิปัสสนา เพราะอรรถว่ามีกิจอย่างเดียวกัน |
ชื่อว่าเป็นคู่ เพราะอรรถว่าไม่ล่วงเกินกัน ชื่อว่าสีลวิสุทธิ เพราะ |
อรรถว่าสำรวม ชื่อว่าจิตตวิสุทธิ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ่าน ชื่อว่าทิฏฐิ- |
วิสุทธิ เพราะอรรถว่าเห็น ชื่อว่าวิโมกข์ เพราะอรรถว่าหลุดพ้น |
ชื่อว่าวิชชา เพราะอรรถว่าแทงตลอด ชื่อว่าวิมุตติ เพราะอรรถว่าปล่อย |
ชื่อขยญาณ เพราะอรรถว่าตัดขาด ชื่อว่าฉันทะ เพราะอรรถว่าเป็น |
มูล ชื่อว่ามนสิภาร เพราะอรรถว่าเป็นสมุฏฐาน ชื่อว่าผัสสะ เพราะ |