ชื่อว่าวิญญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติไม่มีราคะประพฤติ |
ไม่มีโทสะ ประพฤติไม่มีโมหะ ประพฤติไม่มีมานะ ประพฤติไม่มีทิฏฐิ |
ประพฤติไม่มีอุทธัจจะ ประพฤติไม่มีวิจิกิจฉา ประพฤติไม่มีอนุสัย |
ประพฤติไม่ประกอบด้วยราคะ ประพฤติไม่ประกอบด้วยโทสะ ประพฤติ |
ไม่ประกอบด้วยโมหะ ประพฤติไม่ประกอบด้วยมานะ ประพฤติไม่ |
ประกอบด้วยทิฏฐิ ประพฤติไม่ประกอบด้วยอุทธัจจะ ประพฤติไม่ |
ประกอบด้วยวิจิกิจฉา ประพฤติไม่ประกอบด้วยอนุสัย ประพฤติไม่ |
ประกอบด้วยกุศลกรรม ประพฤติไม่ประกอบด้วยอกุศลกรรม ประพฤติ |
ไม่ประกอบด้วยการไม่มีโทษ ประพฤติไม่ประกอบด้วยกรรมไม่มีโทษ |
ประพฤติไม่ประกอบด้วยกรรมดำ ประพฤติไม่ประกอบด้วยกรรมขาว |
ประพฤติไม่ประกอบด้วยกรรมที่มีสุขเป็นกำไร ประพฤติไม่ประกอบ |
ด้วยกรรมที่มีทุกข์เป็นกำไร ประพฤติไม่ประกอบด้วยกรรมที่มีสุขเป็น |
วิบาก ประพฤติไม่ประกอบด้วยกรรมที่มีทุกข์เป็นวิบาก ประพฤติใน |
อารมณ์ที่รู้แจ้งแล้ว วิญญาณมีความประพฤติเห็นปานนี้ เหตุนั้นชื่อว่า |
วิญญาณจริยา จิตนี้บริสุทธิ์โดยปกติ เพราะอรรถว่าไม่มีกิเลส เหตุนั้น |
จึงชื่อว่า วิญญาณจริยา นี้ชื่อว่าวิญญาณจริยา. |
| |
[๑๖๗] อัญญาณจริยาเป็นไฉน ? |
กิริยาคือความนึกเพื่อความแล่นไปแห่งราคะในรูปอันเป็นที่รัก |
อันเป็นอัพยากฤต เป็นวิญญาณจริยา ความแล่นไปแห่งราคะ เป็น |