[๑๘๗] สภาพว่าน้อมใจเธอเป็นอรรถ สภาพว่าประคองไว้ |
เป็นอรรถ สภาพว่าเข้าไปตั้งไว้เป็นอรรถ สภาพว่าไม่ฟุ้งซ่านเป็นอรรถ |
สภาพว่าเห็นเป็นอรรถ สภาพว่าน้อมใจเชื่อเป็นอรรถอย่างหนึ่ง สภาพ |
ว่าประคองไว้เป็นอรรถอย่างหนึ่ง สภาพว่าเข้าไปตั้งไว้เป็นอรรถอย่าง |
หนึ่ง สภาพว่าฟุ้งซ่านเป็นอรรถอย่างหนึ่ง สภาพว่าเห็นเป็นอรรถอย่าง |
หนึ่ง พระโยคาวจรรู้อรรถต่าง ๆ เหล่านี้ด้วยญาณใด เป็นอันรู้เฉพาะ |
อรรถต่าง ๆ เหล่านี้ด้วยญาณนั้นนั่นแล เพราะเหตุดังนั้น ท่านจึงกล่าว |
ว่า ปัญญาในความต่างแห่งอรรถ เป็นอรรูปฏิสัมภิทาญาณ. |
[๑๘๘] การระบุพยัญชนะและนิรุตติ เพื่อแสดงธรรม ๕ |
ประการ การระบุพยัญชนะและนิรุตติเพื่อแสดงอรรถ ๕ ประการ |
ธรรมนิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง อรรถนิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง พระโยคาวจรรู้ |
นิรุตติต่าง ๆ เหล่านี้ด้วยญาณ เป็นอันรู้เฉพาะนิรุตติต่าง ๆ เหล่านี้ด้วย |
ญาณนั้นนั่นแล เพราะเหตุดังนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในความ |
ต่างแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ. |
[๑๘๙] ญาณในธรรม ๕ ในอรรถ ๕ ญาณในนิรุตติ ๑๐ |
ญาณในธรรมเป็นอย่างหนึ่ง ญาณในอรรถเป็นอย่างหนึ่ง ญาณใน |
นิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง พระโยคาวจรรู้ญาณต่าง ๆ เหล่านี้ด้วยญาณใดเป็น |
อันรู้เฉพาะญาณต่าง ๆ เหล่านี้ด้วยญาณนั้นนั่นแล เพราะเหตุดังนั้น |